ข้อสอบ PAT2 เคมี


ข้อสอบ PAT2 เคมี

กำหนดให้ค่าต่อไปนี้ใช้สำหรับ ข้อ 41 – 72
1. R (ค่าคงที่ของแก๊ส) = 0.082 dm3•atm/K•mol
= 8.314 J/K•mol
2. 0oC = 273 K
3. log 2 = 0.301
4. log 3 = 0.477
5. เลขอะตอม
H = 1 C = 6 N = 7 O = 8 F = 9 Ne = 10
P = 15 S = 16 Cl = 17 Ar = 18 I = 53 Xe = 54
Hg = 80
6. น้ำหนักอะตอม
H = 1 C = 12 O = 16 Na = 23 Mg = 24 Cl = 35.5
Zn = 65

41. ธาตุ X มีเลขอะตอม 53 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. X รวมตัวกับโลหะปรอทแล้วจะมีสูตรเคมีเป็น Hg2X2
ข. X เมื่อเป็นไอออนจะมีโครงสร้างอิเล็กตรอนเป็น 2 8 18 18 8
ค. X เมื่อเป็นไอออนจะมีรัศมีไอออนเล็กกว่าไอออนของธาตุที่มีโครงสร้าง
อิเล็กตรอนเป็น 2 8 18 18 8 1
ข้อใดถูกต้อง
1. ก และ ข 
2. ข และ ค
3. ก และ ค
4. ข

42. สารประกอบที่เกิดจากโลหะโซเดียมกับธาตุ X มวลโมเลกุลเฉลี่ยของสารประกอบ
มีค่าเท่ากับ 103 กรัมต่อโมล เมื่อทำปฏิกิริยากับสารละลาย AgNO3 จะได้ตะกอน
สีขาว ถ้าธาตุ X มี 45 นิวตรอน ข้อใดคือการจัดอิเล็กตรอนที่ถูกต้องของธาตุ X
1. 2 8 8 5
2. 2 8 8 6
3. 2 8 18 7
4. 2 8 18 8

43. อะตอมหรือไอออนของธาตุคู่ใดเป็นไอโซอิเล็กทรอนิก
1. O2 และ N2
2. O+ และ Ar
3. S2- และ Ne
4. S2- และ Ar
232 Th
90

44. เมื่อเร็วๆ นี้มีนักวิทยาศาสตร์ชาติหนึ่งอ้างว่าได้สังเคราะห์ธาตุที่มีเลขอะตอม
เท่ากับ 122 ซึ่งควรจะมีอิเล็กตรอนวงนอกสุดอยู่ใน g ออร์บิทัล จงอาศัยความ
รู้เรื่องการจัดเรียงอิเล็กตรอนทำนายว่าธาตุนี้ควรจะมีอิเล็กตรอนอยู่ใน g
ออร์บิทัลจำนวนเท่าไร
1. 1 อิเล็กตรอน
2. 2 อิเล็กตรอน
3. 3 อิเล็กตรอน
4. 4 อิเล็กตรอน

45. Co-60 เป็นสารกัมมันตรังสีที่ปล่อยอนุภาคบีตา มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5.3 ปี เมื่อเวลาผ่าน
ไป 26.5 ปี อัตราส่วนของ Co-60 ที่เหลืออยู่จะเป็นเท่าใดเมื่อเทียบกับเวลาเริ่มต้น
1. 1/5
2. 1/8
3. 1/16
4. 1/32

47. โมเลกุลในข้อใดเป็นโมเลกุลมีขั้วทั้งหมด หรือไม่มีขั้วทั้งหมด
1. HI CS2 O2
2. N2 PCl5 CCl4
3. N2 NH3 SO3
4. O2 SO2 CO2

49. จากการวิเคราะห์ผลึกของสารประกอบชนิดหนึ่งซึ่งมีสูตรเป็น Na2XH20O14
พบว่าผลึกนี้ 1.5 กรัม มีธาตุ X ร้อยละ 15.2 โดยมวล มวลอะตอมของธาตุ X
เป็นเท่าใด
1. 45.0
2. 52.0
3. 59.1
4. 62.6

50. มีสารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.40 โมลาร ์ จำนวน 500 มิลลิลิตร และสารละลายกรด
HCl เข้มข้น 0.10 โมลาร ์ จำนวน 500 มิลลิลิตร ต้องการเตรียมสารละลายกรด HCl
เข้มข้น 0.20 โมลาร์ จำนวน 500 มิลลิลิตร วิธีเตรียมต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
1. ใช้สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.40 โมลาร ์ จำนวน 200 มิลลิลิตร ผสมกับ
สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.10 โมลาร ์ จำนวน 300 มิลลิลิตร
2. ใช้สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.40 โมลาร ์ จำนวน 300 มิลลิลิตร ผสมกับ
สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.10 โมลาร์ จำนวน 200 มิลลิลิตร
3. ใช้สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.40 โมลาร ์ จำนวน 200 มิลลิลิตรผสมกับ
สารละลายกรดHCl เข้มข้น 0.10 โมลาร์ จำนวน 200 มิลลิลิตร แลว้ เติมน้ำ
100 มิลลิลิตร
4. ใช้สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.40 โมลาร์ จำนวน 200 มิลลิลิตร ผสมกับ
สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.10 โมลาร์ จำนวน 100 มิลลิลิตร แล้วเติมน้ำ
200 มิลลิลิตร

51. เมื่อเผา MgCO3(s) จะได้ MgO(s) และ CO2(g) จากการนำสารผสมระหว่าง
MgCO3(s) และ MgO(s)จำนวน 16.00 กรัม มาเผาจนเกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์
ปรากฏว่าเหลือของแข็งหนัก 11.60 กรัม มวลของ MgCO3(s) ในสารผสมมีกี่กรัม
1. 4.4
2. 5.9
3. 7.6
4. 8.4

52. นักเรียนคนหนึ่งนำไดเอทิลอีเทอร์ (C2H5OC2H5) 1 หยด ใส่ในภาชนะที่มีปริมาตร
1,000 มิลลิลิตร แล้วทำให้เป็นไอทั้งหมดที่อุณหภูมิคงที่ 80 °C ปรากฏว่าวัดความดัน
ของไอได้ 38.0 mmHg ถ้าใช้ไดเอทิลอีเทอร์ 3 หยด แต่ใส่ในภาชนะที่มีปริมาตร 500
มิลลิลิตร โดยใช้อุณหภูมิ 80 °C เท่าเดิม จะวัดความดันของไอได้กี่บรรยากาศ
1. 0.05
2. 0.15
3. 0.30
4. 0.45

53. แก๊ส X เคลื่อนที่ในหลอดนำแก๊สอันหนึ่ง ได้ระยะทาง 30.0 เซนติเมตร
ใช้เวลา 2.0 วินาที แก๊ส Y เคลื่อนที่ในหลอดนำแก๊สอันเดียวกันนี้
ได้ระยะทาง 216 เซนติเมตร ใช้เวลา 8.0 วินาที แก๊ส X จำนวน 10 โมเลกุล
หนัก 1.34 x 10- 21 กรัม มวลโมเลกุลของแก๊ส Y เป็นเท่าใด
1. 14
2. 25
3. 44
4. 260

54. แก๊ส SO3 สลายตัวได้ดังสมการ
2 SO3(g) 2 SO2(g) + O2(g)
การศึกษาการสลายตัวของ SO3 ในระบบปิด โดยเริ่มต้นด้วย SO3 จำนวน 2 โมล
ในภาชนะ 2 ลิตร เมื่อถึงภาวะสมดุลพบว่า SO3 สลายตัวไปรอ้ ยละ 20
ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้เป็นเท่าใด
1. 0.006 
2. 0.025
3. 0.125
4. 0.200

55. กำหนดค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาต่างๆ ที่ 25°C ดังนี้
2 P(g) + 2 Q(g) 3 R(g) + S(g) : K = 1.0 x 10-4
A(g) + 3 P(g) 2 S(g) + R(g) : K = 1.0 x 10-2
ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาต่อไปนี้เป็นเท่าไร
A(g) + 5 R(g) P(g) + 4 Q(g)
1. 1.0 x 10-2
2. 1.0
3. 50
4. 1.0 x 106

56. สารละลายกรด HCl เข้มข้นร้อยละ 0.10 โดยมวล มีความหนาแน่น
1.10 กรัม / มิลลิลิตร จำนวน 100 มิลลิลิตร มี pH เป็นเท่าใด
1. 1.52
2. 2.48
3. 2.52
4. 3.48

57. มีสารละลายกรด 2 ชนิดผสมกันอยู่ คือ กรด H2SO4 เข้มข้น 0.1 โมลาร์ ปริมาตร
60 มิลลิลิตร และกรด HCl เข้มข้น 0.2 โมลาร ์ ปริมาตร 50 มิลลิลิตร จะต้องเติม
สารละลายเบส NaOH ที่มีความเข้มขน้ 0.4 โมลาร์ จำนวนเท่าใดจึงจะทำปฏิกิริยา
พอดีกับกรดผสมทั้งหมดนั้น
1. 40 มิลลิลิตร
2. 45 มิลลิลิตร
3. 50 มิลลิลิตร
4. 55 มิลลิลิตร

59. ปฏิกิริยาในข้อที่เมื่อเกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์ จะได้เกลือซึ่งเมื่อเกิดไฮโดรลิซิสแล้วได้
สารละลายมีฤทธิ์เป็นกรด
1. 0.50 โมลาร์ HCN ปริมาตร 200 มิลลิลิตร + 0.50 โมลาร์ NH3
ปริมาตร 200 มิลลิลิตร
2. 0.20 โมลาร์ HCl ปริมาตร 200 มิลลิลิตร + 0.10 โมลาร์ NaOH
ปริมาตร 400 มิลลิลิตร
3. 0.40 โมลาร์ HNO3 ปริมาตร 100 มิลลิลิตร + 0.10 โมลาร์ NH3
ปริมาตร 400 มิลลิลิตร
4. 0.10 โมลาร์ CH3COOH ปริมาตร 200 มิลลิลิตร + 0.20 โมลาร์ NaOH
ปริมาตร 100 มิลลิลิตร

60. ย่อยโลหะ Zn หนัก 1.3 กรัม ด้วยสารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.5 โมลาร์
ปริมาตร 40 มิลลิลิตร จะเกิด H2 ด้วยอัตราเร็วเริ่มต้น 2.24 มิลลิลิตรต่อนาที
ที่ STP อัตราการลดลงของ HCl เท่ากับกี่โมลาร์ต่อนาที
1. 2 x 10-4
2. 2 x 10-3
3. 5 x 10-3
4. 5 x 10-2

61. ปฏิกิริยาระหว่าง A และ B สามารถให้ผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด คือ C และ D
โดยแต่ละปฏิกิริยามีค่า Ea และพลังงานในการเกิดปฏิกิริยาดังนี้
ปฏิกิริยาที่ 1 : A + B C E a = 200 kJ ΔH = +100 kJ
ปฏิกิริยาที่ 2 : A + B D E a = 400 kJ ΔH = -100 kJ
ข้อสรุปที่ถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับปฏิกิริยาระหว่าง A และ B คือข้อใด
1. เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ปฏิกิริยาที่ 1 จะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลง
2. เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ปฏิกิริยาที่ 2 จะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลง
3. ปฏิกิริยาย้อนกลับของปฏิกิริยาที่ 1 มีพลังงานกระตุ้นสูงกว่าปฏิกิริยาย้อนกลับ
ของปฏิกิริยาที่ 2
4. ปฏิกิริยาย้อนกลับของปฏิกิริยาที่ 2 มีพลังงานกระตุ้นสูงกว่าปฏิกิริยาย้อนกลับ
ของปฏิกิริยาที่ 1

62. ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานมีดังนี้
Zn2+(aq) + 2 e- Zn(s) E° = -0.76 V
Cu2+ (aq) + 2 e- Cu(s) E° = +0.34 V
Ag+ (aq) + e- Ag(s) E° = +0.80 V
2 H+ (aq) + 2 e- H2(g) E° = 0.00 V
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้าใส่แผ่นสังกะสีลงในสารละลายกรด HCl เข้มข้น 1 โมลาร์ จะมีฟองแก๊ส
ไฮโดรเจนเกิดขึ้น
ข. ถ้าใส่แผ่นทองแดงลงในสารละลายกรด HCl เข้มข้น 1 โมลาร์ จะมีฟองแก๊ส
ไฮโดรเจนเกิดขึ้น
ค. ถ้านำแผ่นสังกะสีใส่ลงในสารละลาย CuSO4 เข้มข้น 1 โมลาร์ สารละลายจะ
เปลี่ยนจากสีฟ้าเป็นไม่มีสี และเกิดตะกอนของโลหะทองแดง
ง. ถ้านำแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีใส่ลงในสารละลาย AgNO3 เข้มข้น 1 โมลาร์
จะเกิดตะกอนของโลหะทองแดงและโลหะสังกะสี
ข้อใดถูกต้อง
1. ก ข และ ค
2. ก และ ค
3. ข และ ค
4. ค และ ง

63. ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานมีดังนี้
X+ (aq) + e- X(s) E° = -0.10 V
Y2+ (aq) + 2 e- Y(s) E° = +0.50 V
และจากสมการ -
โดยที่ n คือจำนวนอิเล็กตรอนที่ถ่ายโอนในเซลไฟฟ้าเคมี และ Q คืออัตราส่วนความ
เข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์ต่อสารตั้งต้น ตามหลักการของค่าคงที่สมดุล
ค่า Q ที่ถูกต้อง ที่ทำให้เซลล์นี้มีค่า Ecell เท่ากับ +0.54 V คือข้อใด
1. Q = [X+] / [Y2+] = 10
2. Q = [X+]2 / [Y2+] = 10
3. Q = [X+] / [Y2+] = 100
4. Q = [X+]2 / [Y2+] = 100

64. สารประกอบแอโรมาติกชนิดหนึ่งมี วงเบนซีนเป็นองค์ประกอบอยู่ 1 วง
มีสูตรโมเลกุลเป็น C7H8O สารประกอบนี้มีโครงสร้างที่เป็นไปได้ทั้งสิ้นกี่แบบ
1. 3 แบบ
2. 4 แบบ
3. 5 แบบ
4. 6 แบบ

1 ความคิดเห็น: